สนค.เผย เงินเฟ้อ เดือนมิ.ย. 2568 ติดลบ 0.25 % ต่ำสุดในกลุ่มอาเซียน เหตุราคาพลังงาน-อาหารสดบางรายการลด
นักเศรษฐศาสตร์ สะท้อนกำลังซื้อในประเทศอ่อนแอ ผู้ประกอบการขึ้นต้นทุนไปสู่ผู้บริโภคไม่ได้ หวั่นเงินเฟ้อต่ำ ฉุดเศรษฐกิจไทยเข้าสู่ภาวะ “ซึมยาว”
วิจัยกรุงศรีชี้ เศรษฐกิจไตรมาสสองรอฟื้นบางส่วน ส่งออกยังเผชิญปัจจัยเสี่ยงภาษีสหรัฐ ขณะที่ท่องเที่ยวอ่อนแอลง ด้านเงินเฟ้อยังต่ำต่อเนื่องกดดันกนง.ลดดอกเบี้ยงครึ่งปีหลัง
อัตราเงินเฟ้อทั่วไปของไทยในเดือนพฤษภาคม 2568 ติดลบ 0.57% ต่อเนื่องจากราคาพลังงานและผักสดลดลง สะท้อนสถานการณ์ค่าครองชีพที่ผ่อนคลายลง พาณิชย์ปรับคาดการณ์ทั้งปีให้อยู่ในกรอบใหม่ 0.0–1.0%
Krungthai COMPASS คาดเงินเฟ้อทั้งปีอยู่ในระดับต่ำจากราคาพลังงาน อุปสงค์ในประเทศชะลอตัว และสงครามการค้าแต่ยังไม่ถึงขั้นเงินฝืดเหตุราคาสินค้าปรับลดบางกลุ่ม
พาณิชย์ เผย เงินเฟ้อเดือน เม.ย. 68 ลดลง 0.22% จากราคาพลังงานลด และมาตรการช่วยเหลือค่าครองชีพของรัฐบาล แต่หมวดอาหารเครื่องดื่มราคายังสูงขึ้น
กนง.ปรับลดดอกเบี้ยนโยบายเหลือ 1.75 % รองรับความเสี่ยงเงินเฟ้อลดลง และเศรษฐกิจไทยชะลอตัว รวมถึงปัจจัยสงครามการค้า
อัตราเงินเฟ้อมีแนวโน้มต่ำกว่ากรอบเป้าหมาย จากการดูแลราคาสินค้าและค่าครองชีพอย่างมีประสิทธิภาพ ขณะที่กระทรวงพาณิชย์สั่งการตรวจสอบราคาทั่วประเทศ พร้อมจับตาผลกระทบจากกำแพงภาษีสหรัฐฯ ต่อทิศทางเงินเฟ้อ
สำนักงานนโยบายและยุทธศาสตร์การค้า เผยดัชนีราคาผู้บริโภคทั่วไปเดือนมีนาคม 2568 เพิ่มขึ้น 0.84% เมื่อเทียบกับปีก่อนหน้า (YoY) มีปัจจัยหลักจากราคาอาหาร เครื่องดื่มไม่มีแอลกอฮอล์และน้ำมันดีเซลที่ปรับขึ้น
วิจัยกรุงศรี คาด เงินเฟ้อทั้งปียังอยู่ใกล้ขอบล่าง เปิดโอกาสให้ กนง.ปรับลดดอกเบี้ยได้ในปีนี้ ท่ามกลางสงครามทางการค้าที่รุนแรงขึ้น